เทคนิควิธีการประเมินสำหรับ ผู้ประเมินข้อตกลงพัฒนางานในสถานศึกษา

เทคนิควิธีการประเมินสำหรับ ผู้ประเมินข้อตกลงพัฒนางานในสถานศึกษา (Assessor Performance Agreement : PA)

บทความนี้ ครูอาชีพดอทคอม ขอนำเสนอ เทคนิควิธีการประเมิน สำหรับ ผู้ประเมิน ข้อตกลงพัฒนางาน ในสถานศึกษา ตามเกณฑ์วิทยฐานะใหม่ เกณฑ์ PA ซึ่งเป็นรายละเอียดจากท่าน ศน.นพดล โปงอ้าย ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ ขอขอบคุณมา ณ ที่นี้ครับ

เทคนิควิธีการประเมินสำหรับ “ผู้ประเมินข้อตกลงพัฒนางานในสถานศึกษา” (Assessor Performance Agreement : PA)
เทคนิควิธีการประเมินสำหรับ ผู้ประเมินข้อตกลงพัฒนางาน

คําถามที่ผู้ประเมิน PA มักจะถูกถามเสมอ

  • จะประเมินอย่างไร? จะต้องจัดบูท ทําสรุปเป็นเล่ม หรือจะมาสังเกตในชั้นเรียน?
  • หลักฐานต้องเตรียมอะไรบ้าง? ทําเป็นแฟ้ม หรือจะให้รวบรวมเอกสารเพื่อประเมินอะไรบ้าง?
  • “ปฏิบัติสูงกว่าวิทยฐานะ” ขนาดไหนที่ถือว่าสูงกว่า? ต้องทําเท่าวิทยฐานะตัดไปเลยไหม? หรือแค่มากกว่าวิทยฐานเดิมนิดหน่อยก็ได้
  • กรรมการหลายชุด มาตรฐานการประเมินจะเท่ากันไหม?? ถ้ากรรมการหลายยุด มาตรฐานไม่เท่ากัน การปฏิบัติอย่างเดียวยดหนึ่งว่าใช่ ยดหนึ่งว่าไม่ใช่
  • สถานการณ์แบบนี้ ประเมินออนไลน์ได้ไหม? หากมีกรรมการคนใดคนหนึ่งไม่สะดวกที่จะเดินทางมาที่โรงเรียนจะจัดประเมินออนไลน์ได้ไหม?

เกณฑ์การประเมิน PA

1. ปฏิบัติต่ำกว่าระดับการปฏิบัติที่คาดหวังมาก
2. ปฏิบัติได้ต่ำกว่าระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง
3. ปฏิบัติได้ตามระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง
4. ปฏิบัติได้สูงกว่าระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง

หลักการประเมินข้อตกลงพัฒนางานข้าราชการครู ตําแหน่ง ครูผู้สอน (Performance Agreement : PA)

ขอบคุณที่มา : นพดล โปงอ้าย ศึกษานิเทศก์ชํานาญการพิเศษ สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ ศน.ติ๊ก นพดล โป่งอ้าย

บทความที่เกี่ยวข้อง

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่