ปัญหา-เฉลย ข้อสอบนักธรรมชั้นตรี รวมทุกวิชา (กระทู้ ธรรม พุทธ วินัย) ประจำปีพุทธศักราช 2565

ปัญหา-เฉลย ข้อสอบนักธรรมชั้นตรี รวมทุกวิชา (กระทู้ ธรรม พุทธ วินัย) ประจำปีพุทธศักราช 2565 ข้อสอบนักธรรมชั้นตรี ธรรมศึกษา นักธรรม ปัญหา-เฉลย

ปัญหา-เฉลย ข้อสอบนักธรรมชั้นตรี รวมทุกวิชา (กระทู้ ธรรม พุทธ วินัย) ประจำปีพุทธศักราช 2565 11
ปัญหา-เฉลย ข้อสอบนักธรรมชั้นตรี รวมทุกวิชา (กระทู้ ธรรม พุทธ วินัย) ประจำปีพุทธศักราช 2565

วิชาพุทธประวัติ นักธรรมชั้นตรี (เฉลยข้อสอบ) ปีนี้ 2565 ล่าสุดครับ

1 มีความสำคัญในการศึกษาและปฏิบัติพระพุทธศาสนา เพราะแสดงพระพุทธจริยาให้ปรากฏเช่นเดียวกับตำนานย่อมมีความสำคัญต่อชาติของตนที่ให้รู้ได้ว่าชาติได้เป็นมาแล้วอย่างไร ฯ
2 วรรณะกษัตริย์ เป็นชนชาติอริยกะ
3 อาฬารดาบสและอุทกดาบส เป็นผู้ที่พระองค์ได้เคยอยู่อาศัยศึกษาลัทธิของท่านทั้ง ๒
4 อริยสัจ ๔ มี ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค

5. คือเห็นว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับเป็นธรรมดา เกิดขึ้นกับพระอัญญาโกณฑัญญะ เป็นคนแรก
6 ปฐมสาวก คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ ปัจฉิมสาวก คือ พระสุภัททะ
7 ได้แก่ ๑. สถานที่ประสูติ ๒. สถานที่ตรัสรู้๓. สถานที่แสดงปฐมเทศนา ๔. สถานที่ปรินิพพาน
8 เพราะเมื่อพุทธบริษัทปฏิบัติธรรมได้สมควรแก่ธรรมแล้ว ก็จะเป็นปัจจัยให้ตรัสรู้ธรรมได้ ทั้งเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา และเป็นพระพุทธประสงค์หลักในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา อีกทั้งการปฏิบัตินี้จะทำให้ศาสนาตั้งมั่นอยู่ได้ยืนนาน ฯ
9.)วันสาคัญทางพระพุทธศาสนามี ๔ วัน คือ วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันมาฆบูชา และ วันอัฏฐมีบูชา.
10.ต่างกันอย่างนี้ คือ ปฏิบุคคลิกทาน คือ ทานที่ถวายเจาะจงเฉพาะพระรูปนั้นรูปนี้
สังฆทาน คือ ทานที่ถวายไม่เจาะจงพระรูปใด มอบเป็นของกลางเจาะจงสงฆ์ และมีอานิสงส์มากกว่าการทาบแบบแรก

ปัญหา-เฉลย ข้อสอบนักธรรมชั้นตรี รวมทุกวิชา (กระทู้ ธรรม พุทธ วินัย) ประจำปีพุทธศักราช 2565
ปัญหา-เฉลย ข้อสอบนักธรรมชั้นตรี รวมทุกวิชา (กระทู้ ธรรม พุทธ วินัย) ประจำปีพุทธศักราช 2565 12
ปัญหา-เฉลย ข้อสอบนักธรรมชั้นตรี รวมทุกวิชา (กระทู้ ธรรม พุทธ วินัย) ประจำปีพุทธศักราช 2565 13
ปัญหา-เฉลย ข้อสอบนักธรรมชั้นตรี รวมทุกวิชา (กระทู้ ธรรม พุทธ วินัย) ประจำปีพุทธศักราช 2565 14
ปัญหา-เฉลย ข้อสอบนักธรรมชั้นตรี รวมทุกวิชา (กระทู้ ธรรม พุทธ วินัย) ประจำปีพุทธศักราช 2565 15
ปัญหา-เฉลย ข้อสอบนักธรรมชั้นตรี รวมทุกวิชา (กระทู้ ธรรม พุทธ วินัย) ประจำปีพุทธศักราช 2565 16
ปัญหา-เฉลย ข้อสอบนักธรรมชั้นตรี รวมทุกวิชา (กระทู้ ธรรม พุทธ วินัย) ประจำปีพุทธศักราช 2565 17
ปัญหา-เฉลย ข้อสอบนักธรรมชั้นตรี รวมทุกวิชา (กระทู้ ธรรม พุทธ วินัย) ประจำปีพุทธศักราช 2565 18

วิชาธรรมวิภาค นักธรรมชั้นตรี(เฉลยข้อสอบ) ปี 2565 ล่าสุด

1. สติ แปลว่า ความระลึกได้
เพราะทำให้เป็นผู้ไม่ประมาทในการทำกิจการงานใด ๆ และเป็นอุปการะให้ธรรมเหล่าอื่นเกิดขึ้น
2. คือ ขันติ ความอดทน และโสรัจจะ ความสงบเสงี่ยม
3. ที่ตั้งแห่งการทำบุญ เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ โดยย่อ คือ ทาน ศีล และภาวนา
4. คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ฯ มีคุณ คือ รักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ฯ
5. อิทธิบาท 4 คือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา
6. พรหมวิหารธรรม คุณธรรมเครื่องอยู่ของผู้ใหญ่ ๔ ประการ
(๑) เมตตา คือ ความรัก ปรารถนาที่จะให้ผู้อื่นอยู่ดีมีสุข
(๒) กรุณา คือ ความสงสาร ปรารถนาให้ผู้มีทุกข์ เดือดร้อน ให้พ้นทุกข์
(๓) มุทิตา คือ ความพลอยยินดี ที่ผู้อื่นได้ดี ไม่คิดอิจฉาริษยากัน
(๔) อุเบกขา คือ ความวางเฉย ไม่ยินดียินร้ายเมื่อผู้อื่นถึงซึ่งความวิบัติ โดยที่เราก็ช่วย อะไรไม่ได้ ก็ต้องปล่อยวางใจของเราเองด้วยปัญญา ตามพระพุทธพจน์ว่า “สัตว์โลกเป็นไปตามกรรม”

. อนันตริยกรรม หมายถึง กรรมหนักที่สุด (ครุกรรม) ฝ่ายบาปอกุศล ซึ่งให้ผลทันที มี ๕ อย่าง คือ
มาตุฆาต – ฆ่ามารดา
ปิตุฆาต – ฆ่าบิดา
อรหันตฆาต – ฆ่าพระอรหันต์
โลหิตุปบาท – ทำร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงพระโลหิตห้อ ขึ้นไป เช่น พระเทวทัตได้ทำร้ายพระพุทธองค์ ในสมัยพุทธกาล
สังฆเภท – ยุยงสงฆ์ให้แตกกัน ทำลายสงฆ์ฯ

8. พึงปฏิบัติต่อท่านด้วยสถาน ๕ อย่างนี้ คือ
๑. ด้วยลุกขึ้นยืนรับ
๒. ด้วยเข้าไปยืนคอยรับใช้
๓. ด้วยเชื่อฟัง
๔. ด้วยอุปัฏฐาก
๕. ด้วยเรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ ฯ

9. พึงปฏิบัติดังนี้
๑. ท่านได้เลี้ยงมาแล้ว เลี้ยงท่านตอบ
๒. ทำกิจของท่าน
๓. ดำรงวงศ์สกุล.
๔. ประพฤติตนให้เป็นคนควรรับทรัพย์มรดก
๕. เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ทำบุญอุทิศให้ท่าน

10. คือ เบญจศีล หรือ ศีล ๕
ได้แก่ ๑. เว้นจากการฆ่าสัตว์
๒. เว้นจากการลักทรัพย์
๓. เว้นจากการประพฤติผิดในกาม
๔. เว้นจากการพูดปด
๕. เว้นจากการดื่มน้ำเมาคือสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท ฯ
……………

ขอบคุณที่มา :: สำนักศาสนศึกษา คณะสงฆ์อ.สุวรรณภูมิ

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่