สพฐ.ประกาศจัดตั้งศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่สอง ปี 2565 จำนวน 80 ศูนย์

เลือกหัวข้อที่ต้องการอ่านครับ

Toggle

สพฐ.ประกาศจัดตั้งศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่สอง ปี 2565 จำนวน 80 ศูนย์

ด้วยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของคนไทยในเวทีระหว่างประเทศ และการเป็นประชากรที่มีศักยภาพในประชาคมอาเชียน จึงประกาศจัดตั้งโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่สองจำนวน ๘๐ ศูนย์ เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่สองโดยมีโรงเรียนจำนวนหนึ่งเป็นเครือข่ายการพัฒนาร่วมกันในแต่ละศูนย์ ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่สองแยกออกเป็นภาษาต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

๑. ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น จำนวน ๒๙ ศูนย์

ประกอบด้วย
๑.๑ . โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ กรุงเทพมหานคร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑
๑.๒ โรงเรียนวัดราชโอรส กรุงเทพมหานคร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑
๑.๓ โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า กรุงเทพมหานคร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒
๑.๔ โรงเรียนเทพลีลา กรุงเทพมหานคร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒
๑.๕ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี
๑.๖ โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม จังหวัดปทุมธานี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานี
๑.๗ โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี
๑.๘ โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ จังหวัดกาญจนบุรี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี
๑.๙ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเพชรบุรี
๑.๑0 โรงเรียนวิเชียรมาตุ จังหวัดตรัง
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตรัง กระบี่
๑.๑๑ โรงเรียนสตรีภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง
๑.๑๒ โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล
๑.๑๓ โรงเรียนชลกันยานุกูล จังหวัดชลบุรี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดชลบุรี ระยอง

๑.๑๔ โรงเรียนระยองวิทยาคม จังหวัดระยอง
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
๑.๑๕ โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล จังหวัดอุดรธานี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี
๑.๑๖ โรงเรียนบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบึงกาฬ
๑.๑๗ โรงเรียนมุกดาวิทยานุกูล จังหวัดมุกดาหาร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามุกดาหาร
๑.๑๘ โรงเรียนปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร
๑.๑๙ โรงเรียนเน็ญจะมะมหาราช จังหวัดอุบลราชธานี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามั่ธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ
๑.๒๐ โรงเรียนนารีนกูล จังหวัดอุบลราชธานี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ
๑.๒๑ โรงเรียนวิจิตราพิทยา จังหวัดอุบลราชธานี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ
๑.๒๒ โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย จังหวัดนครราชสีมา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา
๑.๒๓ โรงเรียนสิรินธร จังหวัดสุรินทร์
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์
๑.๒๔ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่
๑.๒๕ โรงเรียนลำปางกัลยาณี จังหวัดลำปาง
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลำปาง ลำพูน
๑.๒๖ โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม จังหวัดเชียงราย
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย
๑.๒๗ โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่
๑.๒๘ โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จังหวัดพิษณุโลก
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์
๑.๒๙ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม จังหวัดพิษณุโลก
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์

๒. ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาเกาหลี จำนวน ๗ ศูนย์

ประกอบด้วย
๒.๑ โรงเรียนมัธยมวัดมกุฎกษัตริย์ กรุงเทพมหานคร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑
๒.๒ โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ จังหวัดราชบุรี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี
๒.๓ โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา
สั่งกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล
๒.๔ โรงเรียนระยองวิทยาคม จังหวัดระยอง
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
๒.๕ โรงเรียนเรณูครวิทยานุกูล จังหวัดนครพนม
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครพนม

๒.๖ โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์
๒.๗ โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่

๓. ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาเยอรมัน จำนวน ๔ ศูนย์

ประกอบด้วย
๓.๑ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑
๓.๒ โรงเรียนสตรีนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี
๓.ต โรงเรียนสตรีภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง
๓.๔ โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย จังหวัดขอนแก่น
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น

๔. ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศส จำนวน ๒๒ ศูนย์

ประกอบด้วย
๔.๑ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑
๔.๒ โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑
๔.๓ โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง กรุงเทพมหานคร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑
๔.๔ โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต กรุงเทพมหานคร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒
๔.๕ โรงเรียนสีกัน (วัฒนานันท์อุปถัมภ์) กรุงเทพมหานคร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒
๔.๖ โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี กรุงเทพมหานคร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๒
๔.๗ โรงเรียนเทพศิรินทร์นนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี

๔.๘ โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม จังหวัดสระบุรี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสระบุรี
๔.๙ โรงเรียนราชินีบูรณะ จังหวัดนครปฐม
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครปฐม
๔.๑0 โรงเรียนพัทลุง จังหวัดพัทลุง
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพัทลุง
๔.๑๑ โรงเรียนอำมาตย์พานิชนุกูล จังหวัดกระบี่
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตรัง กระบี่
๔.๑๒ โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย จังหวัดภูเก็ต
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง
๔.๑๓ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย จังหวัดสงขลา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล

๔.๑๔ โรงเรียนชลกับยานุกูล จังหวัดชลบุรี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
๔.๑๕ โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย จังหวัดขอนแก่น
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น
๔.๑๖ โรงเรียนสตรีชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชัยภูมิ
๔.๑๗ โรงเรียนสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่
๔.๑๘ โรงเรียนลำปางกัลยาณี จังหวัดลำปาง
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลำปาง ลำพูน
๔.๑๙ โรงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์ จังหวัดเชียงราย
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย
๔.๒๐ โรงเรียนพะเยาพิทยาคม จังหวัดพะเยา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพะเยา
๔.๒๑ โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุโขทัย
๔.๒๒ โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี จังหวัดพิษณุโลก
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึฃกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์

๕.ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาสเปน จำนวน ๒ ศูนย์

ประกอบด้วย
๕.๑ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑
๕.๒ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร จังหวัดหนองคาย
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย

๖. ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษารัสเชีย จำนวน ๑ ศูนย์

คือ โรงเรียนกมลาสย จังหวัดกาพสินธุ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ์

๗. ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาเขมร จำนวน ๓ ศูนย์

ประกอบด้วย
๗.๑ โรงเรียนหนองตาคงพิทยาคาร จังหวัดจันทบุรี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด
๗.๒ โรงเรียนกันทรลักษ์วิทยา จังหวัดศรีสะเกษ
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร
๗.๓ โรงเรียนประสาทวิทยาคาร จังหวัดสุรินทร์
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์

๘. ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาเวียดนาม จำนวน ๓ ศูนย์

ประกอบด้วย
๘.๑ โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร จังหวัดหนองคาย
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย
๘.๒ โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา จังหวัดสกลนคร
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร
๘.๓ โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย จังหวัดศรีสะเกษ
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร

๙. ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาเมียนมา จำนวน ๕ ศูนย์

ประกอบด้วย
๙.๑ โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ จังหวัดกาญจนบุรี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาญจนบุรี
๙.๒ โรงเรียนพรหมานุสรณ์ จังหวัดเพชรบุรี
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเพชรบุรี
๙.๓ โรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์ จังหวัดเชียงราย
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย
๙.๔ โรงเรียนสรรพวิทยาคม จังหวัดตาก
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตาก
๙.๕ โรงเรียนผดุงปัญญา จังหวัดตาก
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตาก

๑๐. ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษามลายู จำนวน ๔ ศูนย์

ประกอบด้วย
๑๐.๑ โรงเรียนสตูลวิทยา จังหวัดสตูล
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล
๑๐.๒ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา จังหวัดสงขลา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสงขลา สตูล
๑๐.๓ โรงเรียนสวนพระยาวิทยา จังหวัดนราธิวาส
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานราธิวาส
๑๐.๔ โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษายะลา

แต่ละศูนย์เครือข่ายมีบทบาทหน้าที่ดังนี้
๑. เป็นศูนย์ประสานงานหรือศูนย์กลางดำเนินงานจัดกิจกรรมวิชาการเพื่อส่งเสริมศักยภาพด้านภาษาต่างประเทศที่สองของผู้เรียนในโรงเรียนเครือข่ายของตน อาทิ การจัดค่ายภาษาและวัฒนธรรมการประกวดและแข่งขันทักษะภาษา เป็นต้น
๒. เป็นศูนย์ประสานการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้และทักษะภาษา การส่งเสริมอัจฉริยภาพ และประเมินความรู้ความสามารถของผู้เรียน
๓. เป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และส่งเสริมการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
๔. เป็นศูนย์ประสานงานโรงเรียนในเครือข่าย ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารความเคลื่อนไหวทางวิชาการ ผลงานและนวัตกรรมการเรียนการสอนของครูและนักเรียน ตลอดจนเป็นหน่วยประสานงานระหว่างส่วนกลางและโรงเรียนในเครือข่าย

สพฐ.ประกาศจัดตั้งศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่สอง ปี 2565 จำนวน 80 ศูนย์
สพฐ.ประกาศจัดตั้งศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่สอง ปี 2565 จำนวน 80 ศูนย์
สพฐ.ประกาศจัดตั้งศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่สอง ปี 2565 จำนวน 80 ศูนย์
สพฐ.ประกาศจัดตั้งศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่สอง ปี 2565 จำนวน 80 ศูนย์
สพฐ.ประกาศจัดตั้งศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่สอง ปี 2565 จำนวน 80 ศูนย์
สพฐ.ประกาศจัดตั้งศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศที่สอง ปี 2565 จำนวน 80 ศูนย์

ขอบคุณที่มา : สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. (obec.go.th)

บทความที่เกี่ยวข้อง

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่