แจกไฟล์ โครงการ แบบรายงานโครงการหนูน้อยปลูกผักสวนครัวเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ไฟล์เวิร์ด แก้ไขได้

แจกไฟล์ โครงการ แบบรายงานโครงการหนูน้อยปลูกผักสวนครัวเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ไฟล์เวิร์ด แก้ไขได้

แจกไฟล์ โครงการปลูกผักปฐมวัย โครงการปลูกผักสวนครัว doc โหลดไปปรับใช้กันนะคะ โครงการ + แบบรายงาน โครงการหนูน้อยปลูกผักสวนครัวเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ครูดา ดาโบกี้ลิงค์นี้ค่ะ งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น รายงานภายในวันที่ 15 ของทุกเดือนนะคะ ศูนย์และโรงเรียนต้องทำ!! ค่ะ ไฟล์จากครูดา ดาโบกี้ โครงงานปลูกผักปฐมวัย โครงการปลูกผักสวนครัวในโรงเรียน doc ไฟล์เวิร์ด doc แก้ไขได้

ตัวอย่างไฟล์

แจกไฟล์ โครงการ แบบรายงานโครงการหนูน้อยปลูกผักสวนครัวเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ไฟล์เวิร์ด แก้ไขได้
แจกไฟล์ โครงการ แบบรายงานโครงการหนูน้อยปลูกผักสวนครัวเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ไฟล์เวิร์ด แก้ไขได้ 9
แจกไฟล์ โครงการ แบบรายงานโครงการหนูน้อยปลูกผักสวนครัวเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ไฟล์เวิร์ด แก้ไขได้ 10
แจกไฟล์ โครงการ แบบรายงานโครงการหนูน้อยปลูกผักสวนครัวเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ไฟล์เวิร์ด แก้ไขได้ 11
แจกไฟล์ โครงการ แบบรายงานโครงการหนูน้อยปลูกผักสวนครัวเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ไฟล์เวิร์ด แก้ไขได้ 12
แจกไฟล์ โครงการ แบบรายงานโครงการหนูน้อยปลูกผักสวนครัวเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ไฟล์เวิร์ด แก้ไขได้ 13
แจกไฟล์ โครงการ แบบรายงานโครงการหนูน้อยปลูกผักสวนครัวเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ไฟล์เวิร์ด แก้ไขได้ 14
แจกไฟล์ โครงการ แบบรายงานโครงการหนูน้อยปลูกผักสวนครัวเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ไฟล์เวิร์ด แก้ไขได้

โครงการหนูน้อยปลูกผักสวนครัว เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร

๑. ชื่อโครงการ         หนูน้อยปลูกผักสวนครัว เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร

๒. ความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา/ตัวบ่งชี้ มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ 

มาตรฐานด้านที่ ๑ การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 

ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๕ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน 

ตัวบ่งชี้ย่อย 

๑.๕.๒ การจัดกิจกรรมที่พ่อแม่/ผู้ปกครอง/ครอบครัว และชุมชน มีส่วนร่วม 

มาตรฐานด้านที่ ๒ ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจัดประสบการณ์การเรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย 

ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๑ การดูแลและพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน 

ตัวบ่งชี้ย่อย 

๒.๑.๔ จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านอย่างบูรณาการตามธรรมชาติของเด็ก ที่เรียนรู้ด้วยประสาทสัมผัส ลงมือทำ ปฏิสัมพันธ์ และการเล่น

ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๒ การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและดูแลสุขภาพ

ตัวบ่งชี้ย่อย

๒.๒.๑ ให้เด็กอายุ ๖ เดือนขึ้นไป รับประทานอาหารที่ครบถ้วนในปริมาณที่เพียงพอ และส่งเสริมพฤติกรรมการกินที่เหมาะสม

๒.๒.๒ จัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมในการดูแล สุขภาพความปลอดภัยในชีวิตประจำวัน

3. หลักการและเหตุผล โครงการปลูกผักสวนครัว หลักการและเหตุผล

หนังสือ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ที่มท 0816.4/ ว3831 ลงวันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 เรื่อง แนงทางการจัดกิจกรรมเตรียมประสบการณ์บูรณาการการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภายใต้โครงการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ รักธรรมชาติ วัฒนธรรม และความเป็นไทย เพื่อพัฒนาศักยภาพเด็กไทยให้เป็นคนเก่ง คนดร มีความรู้และมีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 โดยบูรณาการกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาเด็กไทยตามกลยุทธ์ 4H ได้แก่ ด้านสติปัญญา ( Head) ด้านอารมณ์ จิตใจ ( Heart ) ด้านทักษะฝีมือ ( Hand ) ด้านสุขภาพ ( Health ) ภายใต้การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ( Home )  

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านห้วยน้ำเย็น จึงได้จัดทำโครงการ “ หนูน้อยปลูกผักสวนครัว เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร “ ขึ้นเพื่อให้เด็กมีความปลอดภัยด้านการรับประทานอาหารและเสริมสร้างสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์และรู้จักรับผิดชอบสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวอย่างมีคุณภาพ  ตามแนวทางการจัดกิจกรรมเตรียมประสบการณ์บูณาการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง โดยมุ่งเน้นให้เด็กมีความรู้เรื่องอาหารปลอดภัย การเพาะปลูกพืชผักแบบปลอดสารพิษ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก ( Active Learning ) สร้างความตะหนักในเรื่องของอาหารที่ปลอดภัยต่อการบริโภค และการเพาะปลูกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยเลือกปลูกผักสวนครัวที่ใช้ปรุงอาหารประจำวันเป็นประจำ และจัดให้มีถังขยะหรือบ่อปุ๋ยหมัก เพื่อใช้ประโยชน์แทนปุ๋ยเคมี โดยโครงการดังกล่าวมีการประสานความร่วมมือในการจัดกิจกรรมบูรณาการเรียนรู้การสร้างการมีส่วนร่วมของครอบครัว ผู้ปกครอง ชุมชนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

4.  วัตถุประสงค์

2.1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความปลอดภัยด้านการรับประทานอาหาร

2.2 เพื่อเสริมสร้างสุขนิสัยที่ดีให้เด็กในการเลือกรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน์

2.3 เพื่อปลูกฝังให้เด็กรู้จักการเพาะปลูกผักที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

2.4 เพื่อให้เกิดการส่วนร่วมของครอบครัว ผู้ปกครอง ชุมชนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ขอบคุณที่มา : ครูดา ดาโบกี้

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่