การเขียนหนังสือราชการ “ประเภทของหนังสือราชการ 6 ชนิด”

การเขียนหนังสือราชการ ประเภทของหนังสือราชการ 6 ชนิด

ในปัจจุบันการติดต่อราชการทั้งภายในหน่วยงานและภายนอกหน่วยงานเป็นการสื่อถึงบุคคล/หน่วยงาน อีกทั้งยังเป็นปัญหาของหน่วยงานและผู้ปฏิบัติที่เกี่ยวข้องจำนวนไม่น้อยที่ยังไม่เข้าใจในการใช้ภาษาราชการและแบบฟอร์มที่ถูกต้อง

เพื่อเป็นการสร้างความสำเร็จของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องทางด้านหนังสือได้ทราบถึงรูปแบบ การใช้คำขึ้นต้น คำลงท้ายที่ถูกต้อง เป็นไปในแนวทางเดียวกันและเป็นไปตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ได้จำแนกหนักสือราชการไว้มี 6 ชนิด ดังนี้

** หนังสือที่จัดทำขึ้นโดยปกติให้มี
สำเนาคู่ฉบับเก็บไว้ที่ต้นเรื่อง 1 ฉบับ และให้มีสำเนาเก็บไว้ที่หน่วยงานสารบรรณกลาง 1 ฉบับ

** สำเนาคู่ฉบับให้ผู้ลงชื่อลงลายมือชื่อหรือลายมือชื่อย่อ และให้ผู้ร่าง ผู้พิมพ์และผู้ตรวจ ลงลายมือชื่อหรือลายมือชื่อย่อไว้ที่ข้างท้ายขอบล่างด้านขวาของหนังสือ?

การเขียนหนังสือราชการ ประเภทของหนังสือราชการ 6 ชนิด
การเขียนหนังสือราชการ “ประเภทของหนังสือราชการ 6 ชนิด”
การเขียนหนังสือราชการ “ประเภทของหนังสือราชการ 6 ชนิด”
การเขียนหนังสือราชการ “ประเภทของหนังสือราชการ 6 ชนิด”
การเขียนหนังสือราชการ “ประเภทของหนังสือราชการ 6 ชนิด”
การเขียนหนังสือราชการ “ประเภทของหนังสือราชการ 6 ชนิด”
การเขียนหนังสือราชการ “ประเภทของหนังสือราชการ 6 ชนิด”

ขอบคุณข้อมูลจาก: sorbdee.net | เพจ สมอง สองบี

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่