หลักเกณฑ์การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และเครื่องหมายอื่นๆ หลักเกณฑ์การเว้นวรรค หลักเกณฑ์การเขียนคำย่อ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

หลักเกณฑ์การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และเครื่องหมายอื่นๆ หลักเกณฑ์การเว้นวรรค หลักเกณฑ์การเขียนคำย่อ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

เครื่องหมายวรรคตอนและเครื่องหมายอื่น ๆ

มหัพภาค
จุด
อัฒภาค
ทวิภาค
ต่อ
วิภัชภาค
ยัติภังค์
ยัติภาค
วงเล็บ (นขลิขิต)

วงเล็บเหลี่ยม
วงเล็บปีกกา
ปรัศนี
อัศเจรีย์
อัญประกาศ
ไข่ปลา หรือ จุดไข่ปลา
เส้นประ
บุพสัญญา
มหัตถสัญญาหรือย่อหน้า
จุลภาค

ทับ
ไม้ยมก หรือ ยมก
ไปยาลน้อย หรือ เปยยาลน้อย
ไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่
เครื่องหมายวรรคตอนใบราณ
ฟองมัน หรือ ตาไก่
ฟองมันฟันหนู หรือ ฟันหนูฟองมัน

อังคั่นเดี่ยว คั่นเดี่ยว หรือ คั่น
อังคั่นคู่ หรือ คั่นคู่
อังคั่นวิสรรชนีย์
โคมูตร
ยามักการ
ทัณฑมาต

ตีนครุ หรือ ตีนกา

ลักษณนามของเครื่องหมายวรรคตอน
หลักเกณฑ์การเว้นวรรค
หลักเกณฑ์การเขียนคำย่อ

ลักษณนามของเครื่องหมายวรรคตอน

เครื่องหมายวรรคตอนสวนใหญ่ใช้ลักษณนามว่า “ตัว” ยกเว้นเครื่องหมายวรรคตอนที่มีลักษณะเป็นคู่ เช่น วงเล็บ อัญประกาศ ใช้ลักษณนามว่า “คู่” แต่ถ้าแยก
ใช้กันจะมีลักษณนามเป็น “ตัว” ส่วนครื่องหมายยัติภังค์และยัติภาค มีลักษณะเป็นขีด จึงใช้ลักษณนามว่า “ขีด”

หลักเกณฑ์การเว้นวรรค

ในการเขียนหรือพิมพ์หนังสือไทย การเว้นช่องว่างระหว่างคำ ข้อความหรือประโยคให้ถูกต้องเป็นสิ่งจำเป็นมาก เพราะจะทำให้ข้อเขียนนั้นมีความถูกต้อง แจ่มแจ้งชัดเจน และอ่านได้ตรงตามความต้องการของผู้เขียน

วรรค คือ คำ ข้อความ หรือประไยคช่วงหนึ่ง ๆ
การเว้นวรรค หมายถึง การเว้นช่องว่างระหว่างวรรค

การเว้นวรรคแบ่งออกเป็น

  • การเว้นวรรคเล็ก มีระยะห่างระหว่างวรรคประมาณเท่กับความกว้างของ
    พยัญชนะ ก
  • การเว้นวรรคใหญ่ มีระยะห่างระหว่างวรรคประมาณ ๒ เท่าของการ
    เว้นวรรคเล็ก

ตัวอย่างไฟล์

หลักเกณฑ์การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และเครื่องหมายอื่นๆ หลักเกณฑ์การเว้นวรรค หลักเกณฑ์การเขียนคำย่อ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
หลักเกณฑ์การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และเครื่องหมายอื่นๆ หลักเกณฑ์การเว้นวรรค หลักเกณฑ์การเขียนคำย่อ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

ขอบคุณที่มา :: ศิษฏ์ หนองหงส์ บรรเลง

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่